กลุ่มโรคเกี่ยวกับภูมิคุ้มกัน กับ วัณโรค Tuberculosis (TB)

วัณโรค Tuberculosis (TB)

วัณโรค (อังกฤษ: Tuberculosis) หรือ MTB หรือ TB (ย่อจาก tubercle bacillus) เป็นโรคติดเชื้อที่พบบ่อย และถึงแก่ชีวิตของผู้ป่วยในหลายกรณี ที่เกิดจากไมโคแบคทีเรียหลายสายพันธุ์ ตามปกติคือ Mycobacterium tuberculosis[1] วัณโรคโดยปกติก่อให้เกิดอาการป่วยที่ปอด แต่ยังสามารถส่งผลกระทบต่อส่วนอื่นของร่างกายได้ วัณโรคแพร่ผ่านอากาศเมื่อผู้ที่มีการติดเชื้อ MTB มีฤทธิ์ไอ จาม หรือส่งผ่านน้ำลายผ่านอากาศ[2] การติดเชื้อในมนุษย์ส่วนมากส่งผลให้เกิดไร้อาการโรค การติดเชื้อแฝง และราวหนึ่งในสิบของการติดเชื้อแฝงท้ายที่สุดพัฒนาไปเป็นโรคมีฤทธิ์ ซึ่ง หากไม่ได้รับการรักษา ทำให้ผู้ติดเชื้อเสียชีวิตมากกว่า 50%
อาการตรงต้นแบบมีไอเรื้อรังร่วมกับเสมหะมีเลือดปน ไข้ เหงื่อออกกลางคืน และน้ำหนักลด การติดเชื้อในอวัยวะอื่นก่อให้เกิดอาการอีกมากมาย การวินิจฉัยต้องอาศัยรังสีวิทยา (โดยมากคือ การเอ็กซ์เรย์อก) การทดสอบโรคบนผิวหนัง การตรวจเลือด เช่นเดียวกับการตรวจโดยทางกล้องจุลทรรศน์และการเพาะเชื้อจุลชีววิทยาต่อของเหลวในร่างกาย การรักษานั้นยากและต้องอาศัยการปฏิชีวนะยาวหลายคอร์ส
คาดกันว่าหนึ่งในสามของประชากรโลกติดเชื้อ M. tuberculosis[3][4] และมีการติดเชื้อใหม่เกิดขึ้นในอัตราหนึ่งคนต่อวินาที ใน พ.ศ. 2550 มีการประเมินว่ามีกรณีมีฤทธิ์เรื้อรัง 13.7 ล้านคน[5] และใน พ.ศ. 2553 มีกรณีใหม่ 8.8 ล้านกรณี และผู้เสียชีวิต 1.45 ล้านคน ส่วนมากในประเทศกำลังพัฒนา[6] จำนวนสัมบูรณ์ผู้ป่วยวัณโรคลดลงตั้งแต่ พ.ศ. 2549 และกรณีใหม่ตั้งแต่ พ.ศ. 2545[6] นอกเหนือจากนี้ คนในประเทศกำลังพัฒนาติดต่อวัณโรคมากกว่า เพราะระบบภูมิคุ้มกันมีแนวโน้มเป็นอันตรายมากกว่าเนื่องจากอัตราโรคเอดส์ที่สูงกว่า[7] การกระจายของวัณโรคไม่ได้เป็นแบบแผนทั่วโลก ราว 80% ของประชากรในประเทศเอเชียและแอฟริกาหลายประเทศให้ผลบวกเมื่อทดสอบผิวหนัง ขณะที่ประชากรสหรัฐอเมริกาเพียง 5-10% เท่านั้นที่ให้ผลบวก[1]
อาการ (Symptoms) 
สำหรับคนที่เกิดการอักเสบติดเชื้อวัณโรค  โดยเชื้อวัณโรคไม่มีฤทธิ์ในการทำลาย(inactive)  ซึ่งจะไม่สามารถทำให้เกิดอาการแต่อย่างใดในคนพวกนี้  หากมีการตรวจผิวหนังเรียก PPD test (protein purifiedDerivative)  จะได้ผลเป็นบวกหากการอักเสบนั้นเป็นนานสามเดือนและจะเป็นเช่นนั้น (positive test) ไปตลอดชั่วชีวิต

สำหรับคนเกิดการอักเสบติดเชื้อ  โดยที่เชื้อวัณโรคมีฤทธิ์ในการทำลาย(active)  อาการต่าง  ที่เกิดขึ้นจะมีได้แตกต่างกันไปตามชนิดของการอักเสบจากเชื้อวัณโรค  ซึ่งมีลักษณะดังต่อไปนี้:

Primary pulmonary tuberculosis.  ในคนไข้บางคน  โดยเฉพาะคนไข้ที่มีอายุน้อย  อาการของวัณโรคจะไม่มีอาการอื่นใดมากกว่า   มีอาการ“ไข้”และเกิดอาการ “อ่อนเพลีย”  นอกจากนั้น คนไขอาจมีอาการอย่าอื่นอีกได้ เช่น
  • ไอ(cough)
  • เจ็บหน้าอก(chest pain)
  • มีเหงื่อตอนกลางคืน(night sweats)
  • กินอาหารไร้รสชาติ(poor appetite)
  • ไม่สามารถเพิ่มน้ำหนักตัว(problems gaining weight)


Post-primary (reactivation) tuberculosis. คนไข้ในกลุ่มนี้  จะมีอาการดังต่อไปนี้:
  • มีไข้(fever)
  • น้ำหนักตัวลด(weight loss)
  • กินข้าวไร้รสชาด(loss of appetite)
  • อ่อนแรง(weakness)
  • เจ็บหน้าอก(chest pain)
  • รู้สึกไม่สบายทั่วทั้งร่างกาย(general sick feeling)
นอกจากนั้น  คนไข้อาจมีอาการไอ  และมีเสมหะเป็นสีเมื่ออาการของคนไข้เลวลง  คนไข้มักจะมีอาการไอมีเลือดออกมา และบางครั้งจะไอเป็นเลือดในปริมาณมากๆ ได้  คนไข้อาจมีอาการหายใจหอบ  และมีปัญหาเรื่อการหายใจ
Extra-pulmonary tuberculosis.  อาการที่เกิด  จะขึ้นกับการอักเสบติดเชื้อวัณโรคยกตัวอย่าง  ถ้าหากเกิดขึ้นกับต่อมน้ำเหลือง (lymph nodes) ทำให้ต่อมโตขึ้นซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ประมาณ  25 %  โดยส่วนมากจะเกิดขึ้นที่บริเวณคอส่วนล่างในรายที่เป็นวัณโรคของกระดูก  หรือของข้อ  ซึ่งสามารถเกิดได้ประมาณ 8% และตำแหน่งที่เกิดบ่อยได้แก่  กระดูกสันหลัง, ข้อสะโพก และข้อเข่า โดยจะทำให้ข้อบวม  และมีอาการเจ็บปวดได้
วัณโรคของระบบทางเดินปัสสาวะ  ซึ่งพบได้ประมาณ 15 % สามารถทำให้เกิดอาการปวดที่บริเวณบั้นเอว  ระหว่างชายโครง  และสะโพกปัญหาที่เกิดขึ้น  คือปัสสาวะบ่อย,  ปัสสาวะเจ็บแสบ  และบางทีมีเลือดในปัสสาวะ
Disseminated or miliary tuberculosis. คนที่เป็นวัณโรคชนิดนี้จะมีอาการดังต่อไปนี้:
  • เป็นไข้ (Fever)
  • มีเหงื่อตอนกลางคืน (Night sweats)
  • น้ำหนักลด(weight loss)
  • อ่อนแรง (weakness)
  • มีปัญหาทางปอด เช่นไอ, หายใจหอบ  และเจ็บหน้าอก
แม้ว่าเชื้อวัณโรคจะกระจายไปทั่วร่างกาย  แต่อาจไม่แสดงอาการใดๆแต่หากมันมีอาการ  อาการที่พบอาจเป็น
ปวดศีรษะ (headache), มีปัญหาด้านสายตา (visual difficulties), ต่อมน้ำเหลืองโต (swollen lymph nodes)
ปวดข้อ (painful joints), ลูกอัณฑะโตขึ้น (Scrotal masses), มีผื่นบนผิวหนัง  (skin rashes), ปวดท้อง  (abdominal  pain)

คำแนะนำ: รับประทานFOS 2+ FOS10 ยีสต์แดง+วิตามินบีรวม ชนิดมี Lypotropics
  1. FOS 2 = จัดการเรื่องของภูมิคุ้มกันของร่างกาย การติดเชื้อของทางเดินหายใจและปอด
  2. วิตามินบีรวม ชนิดมี Lypotropics= ซ่อมสร้างเนื้อเยื่อปอด
  3. FOS10 ยีสต์แดง = เสริมความแข็งแกร่งให้โปร 2 โดยเฉพาะกรณีที่ผู้ป่วยอาจมีเชื้อราที่ปอดร่วมด้วย
** สำหรับเชื้อ TB ที่ไปเกิดในจุดอื่นๆเช่นต่อมน้ำเหลือง (TB Lymph node) ก็ใช้คำแนะนำเดียวกัน

ติดตามข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่
https://www.facebook.com/ProbioticByProLife/
หรือสั่งซื้อสินค้าโดยตรงได้ที่
Line ID; @ovp0980m